บทที่3 พลเมืองดิจิทัล

สรุปบทที่ 3 พลเมืองดิจิทัล
พลเมืองดิจิทัล
  นักเรียนในยุคนี้ต้องเรียนรู้การใช้ชีวิตในสังคมที่เทคโนโลยีรีเจ้นท์มีบทบาทในการดำเนินชีวิต ต้องเข้าใจและปฏิบัติตนให้เหมาะสมในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตและการเป็นพลเมืองที่ดีในยุคดิจิทัล

3.1 การเป็นพลเมืองดิจิทัล
   เทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวกับห้องกับชีวิตประจำวันของเราทุกคนเราจึงต้องเรียนรู้เข้าใจและตระหนักว่าจะปฏิบัติตนบนโลกออนไลน์อย่างไรถึงจะใช้ประโยชน์จากที่นั่งได้ดีได้อย่างคุ้มค่าปลอดภัย เพื่อใช้ชีวิตในโลกจริงและโลกออนไลน์ได้อย่างสมดุลในปีพ.ศ 2562 ไมล์ ริบเบิลได้ปรับปรุงกรอบแนวคิดในการเป็นพลเมืองดิจิทัลที่ดีโดยแบ่งออกเป็น 3 ด้านได้แก่การมีความรู้ทางเทคโนโลยีและการแบ่งปันความรู้กับผู้อื่นการป้องกันตนเองและผู้อื่น
3.1.1 การรู้ดิจิทัล
   การเรียนรู้ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในห้องเรียนเราสามารถเรียนรู้ได้จากเพื่อนเพื่อปกครองบุคคลในชุมชนและยังสามารถเรียนรู้ได้จากแหล่งข้อมูลออนไลน์ต่างๆแต่ข้อมูลที่ได้รับไม่ว่าจากที่ใดก็ตามเราจะต้องวิเคราะห์ได้ว่าข้อมูลใดถูกต้องและสามารถนำมาใช้เพื่อสร้างเป็นองค์ความรู้ของเราเองได้
3.1.2 การมีทักษะทางการสื่อสาร
   เทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้เราสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้ทั่วโลกโดยผ่านการแฟลตฟอร์มหรือศูนย์กลางที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในรูปแบบต่างๆ และแบ่งปันความรู้ให้กับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งระมัดระวังการทิ้งร่องรอยดิจิทัลที่เกิดจากการสื่อสารในสังคมหรือการแชร์ที่ไม่เหมาะสมบนโลกออนไลน์ เนื่องจากอาจส่งผลเสียต่อตัวนักเรียนต่อไปในอนาคตในการเข้าศึกษาต่อหรือทำงาน
3.1.3 การซื้อขายสินค้าออนไลน์
   เทคโนโลยีทำให้การซื้อขายสินค้าทางได้สะดวกรวดเร็วไม่ว่าจะอยู่ที่ใดบนโลกเมื่อมีการซื้อขายสินค้าระหว่างการข้อมูลส่วนตัวจำนวนมากน่าจะถูกแชร์เพื่อให้สามารถซื้อขายกันได้จนเสร็จสิ้นดังนั้นจึงต้องมีทักษะในการป้องกันข้อมูลส่วนตัวและมีทักษะในการซื้อขายในตลาดมีรายได้อย่างปลอดภัย
3.2 การป้องกันตนเองและผู้อื่น
   เทคโนโลยีเปิดโอกาสให้ทุกคนได้รับความสนุกสนานได้บางครั้งความสนุกสนานของเราอาจทำให้ผู้อื่นได้รับผลกระทบและไม่รู้สึกสนุกสนานด้วย การใช้เทคโนโลยีจึงต้องรับคำนึงถึงความเป็นส่วนตัวของคนอื่นและตนเองรวมถึงต้องรู้จักป้องกันตนเองจากการใช้งานเทคโนโลยีที่มากเกินไปดังนั้นเราจึงต้องสร้างสมดุลในการป้องกันตนเองและผู้อื่นจากการใช้เทคโนโลยีดังนี้
3.2.1 ความเป็นส่วนตัว
   ความเป็นส่วนตัว (privacy) เป็นสิทธิส่วนบุคคลที่จะปกปิดไม่ให้ผู้อื่นทราบข้อมูลบางอย่างโดยระดับความเป็นส่วนตัวนั้นขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลและบริบทด้านสังคมและวัฒนธรรม ข้อมูลส่วนตัวกลายเป็นสิ่งที่มีมูลค่าข้อมูลเหล่านี้มีประโยชน์ทางธุรกิจอย่างมากตัวอย่างเช่นถ้าเว็บไซต์รู้และรสนิยมและความชอบของเราก็จะสามารถส่งโฆษณาสินค้าได้ตรงตามความต้องการให้ผู้บริการบนอินเทอร์เน็ตรายใหญ่จำนวนมากที่มีรายได้หลักมาจากการโฆษณา ในด้านความเป็นส่วนตัวของบุคคลอื่นเป็นสิ่งที่ไม่ควรไปละเมิดเช่นเดียวกันตัวอย่างที่พบเห็นได้บ่อยครั้งเช่นการถ่ายภาพด้วยโทรศัพท์มือถือในสถานที่ที่ไม่เหมาะสมโดยสถานที่ที่ห้ามถ่ายภาพและการถ่ายภาพบุคคลอื่นโดยไม่ขออนุญาตแสดงถึงการที่เราไม่รู้จักป้องกันความเป็นส่วนตัวของบุคคลอื่นการดำเนินการที่ถูกต้องคือเราควรขออนุญาตเจ้าของสถานที่ทุกคนที่เราต้องการถ่ายภาพให้เรียบร้อยก่อน
3.2.2 สิทธิและความรับผิดชอบ
   internet เป็นพื้นที่แห่งความสร้างสรรค์ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนได้เผยแพร่เนื้อหาโดยไม่มีค่าใช้จ่ายซึ่งได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายลิขสิทธิ์ โดยอัตโนมัติดังนั้นการทำผลงานของผู้อื่นมาใช้หรือนำมาต่อยอดโดยไม่ได้อนุญาตจึงเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายลิขสิทธิ์ ในฐานะผู้สร้างสรรค์ผลงานและต้องการเผยแพร่ต่อสาธารณะสามารถเลือกที่จะเผยแพร่ผลงานได้ใน 2 ลักษณะดังนี้
1.เผยแพร่ผลงานให้เป็นสมบัติสาธารณะทั้งเรื่องนี้ทำให้ผู้สร้างสรรค์ผลงานไม่สามารถยึดครองสิทธิอะไรได้เลยแม้แต่เครดิตของผลงานงานเลย
2.การเผยแพร่ผลงานที่อนุญาตให้ผู้อื่นนำไปใช้หรือพัฒนาต่อยอดเทือกของผลงานสามารถเลือกที่จะเผยแพร่ผลงานพร้อมด้วยสัญญาอนุญาตที่อนุญาตให้มีการนำผลงานไปใช้ต่อภายใต้เงื่อนไขบางอย่างได้
3.2.3 สุขภาพกับการใช้งานเทคโนโลยี
   ในปัจจุบันเราใช้เวลาในการนั่งทำกิจกรรมหน้าคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือมากขึ้นกว่าในอดีตซึ่งทำให้เราต้องนั่งอยู่นิ่งเป็นเวลานานถ้าทางในการนั่งไม่ถูกต้องจะส่งผลให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบและปวดเมื่อยตามร่างกายส่วนต่างๆของร่างกายเช่น หลัง ไหล่ บ่า แขน หรือข้อมือ ซึ่งอาการเหล่านี้สามารถป้องกันได้โดยปรับท่านั่งและพฤติกรรมการใช้งานคอมพิวเตอร์ที่ถูกต้อง ดังนี้
1. หลัง
  -นั่งหลังตรงไม่ร้อนตัวไปข้างหน้าเพื่อให้มองเห็นหน้าจอได้ถนัด
2 .แขน
  -วางแขนให้ตำแหน่งข้อศอกแนบใกล้กับลำตัว
3. เก้าอี้
  -ควรมีพนักพิงและปรับระดับความสูงให้สามารถวางเท้ารากกับพื้นโดยไม่ให้มือวางอยู่ในระดับเดียวกับแป้นพิมพ์
4 .สายตา
   -ปรับระดับให้ขอบจอด้านบนอยู่ที่ระดับสายตาจนไม่รู้สึกว่ากล้องหนึ่งในมากเกินไป
5 .ข้อมือ
   -วางบนแป้นพิมพ์โดยไม่ปิดงอขึ้นหรือกดต่ำเกินไป
6 ขา
  -วางให้เขาตั้งฉากกับพื้นโดยให้เท้าวางราบกับพื้นหากเท้าไม่แตกพื้นไม่หาสิ่งของมาหนุน
3.3 กฎหมายและมารยาทในสังคมดิจิทัล
   การที่อินเทอร์เน็ตเป็นพื้นที่ที่ทุกคนมีโอกาสแลกเปลี่ยนข้อมูล และเรียนรู้ซึ่งกันและการทำให้อินเตอร์เน็ตมีลักษณะไม่ต่างจากร้านกาแฟในสมัยก่อนที่ชุมชนใช้เป็นสถานที่มีการติดตามข้อมูลข่าวสาร แต่อย่างไรก็ตามการกระทำใดๆบนโลกออนไลน์นี้ต้องเคารพสิทธิของบุคคลอื่นเคารพกฎหมายและมีมารยาทที่จะไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนหรือได้รับความอับอาย
3.3.1 การเข้าถึงและการเข้าร่วมตัดสินใจ
  เทคโนโลยีเปิดโอกาสให้คนวันเลิกสามารถเข้าถึงได้ติดต่อสื่อสารถึงการได้ง่ายและรวดเร็วเนื่องจากไม่ว่าใครถูกตำแหน่งใดก็ตามสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้เสมอได้อยู่ที่เดียวกัน และสถานที่การรณรงค์ต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
   นอกจากต้นทุนการมีส่วนร่วมที่ต่ำแล้วอีกสาเหตุหนึ่งที่ผลเมืองดิจิทัลสามารถมีส่วนร่วมในการสนทนาและตัดสินใจต่างๆได้ดีแต่ในขณะเดียวกันอาจมีความพยายามในการปิดกั้นการเข้าถึงเนื้อหาและบริหารการบนอินเทอร์เน็ต
3.3.2 เสรีภาพในการแสดงออก
  หลายคนเข้าใจว่าในโลกออนไลน์ทุกคนสามารถแสดงความคิดเห็นในเรื่องใดๆก็ได้สิ่งแรกที่พลเมืองดีใจท่านสัมผัสได้คือเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น อย่างไรก็ตามระดับของการมีเสรีภาพจะตั้งอยู่ภายใต้กฎหมายและไม่กระทบหรือละเมิดสิทธิของผู้อื่น เนื้อหาดังกล่าวอาจนำพาให้คนอื่นโกรธและเกลียดผู้พูดได้ซึ่งผลสืบเนื่องนี้ก็เป็นสิ่งที่น่าจะคาดหวังได้จากการแสดงออกดังกล่าว ในทำนองเดียวกันบุคคลมีสิทธิที่จะแสดงออกและวิพากษ์วิจารณ์บุคคลอื่นได้แต่ถ้าการกระทำการวิจารณ์ดังกล่าวเป็นการให้ร้ายหรือทำให้บุคคลอื่นเสียชื่อเสียงได้รับความอับอายหรือเกลียดชังก็อาจจะถูกดำเนินคดีตามกฎหมายหมิ่นประมาทได้
3.2.3 กฎหมายดิจิทัล
   ปัจจุบันเรามีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตซึ่งแทบจะกลายเป็นของสำคัญที่บางคนรู้สึกว่าขาดไม่ได้ดังนั้นจึงต้องมีความเข้าใจและระมัดระวังไม่ให้กระทำผิดเกี่ยวกับการใช้งานเทคโนโลยี กฎหมายหรือพ.ร.บเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ได้กำหนดฐานความผิดและบทลงโทษดังนี้

ฐานความผิดและบทลงโทษ
1. เข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
  -จำคุกไม่เกิน 6 เดือนปรับไม่เกิน 10,000 บาท
2. เข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
  -จำคุกไม่เกิน 2 ปีปรับไม่เกิน 40,000 บาท
3. เปิดเผยมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
   -จำคุกไม่เกิน 1 ปีปรับไม่เกิน 20,000 บาท
4. ดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
  -จำคุกไม่เกิน 2 ปีปรับไม่เกิน 40,000 บาท
5. แก้ไขดัดแปลงหรือทำให้ข้อมูลผู้อื่นเสียหาย
  -จำคุกไม่เกิน 5 ปีปรับไม่เกิน 100,000 บาท
6. ส่งข้อมูลหรืออีเมลก่อกวนผู้อื่นหรือส่งอีเมลสแปม
  -จำคุกไม่เกิน 2 ปีปรับไม่เกิน 100,000 บาท
7. เข้าถึงระบบหรือข้อมูลทางด้านความมั่นคงโดยมิชอบ
  -จำคุกไม่เกิน 20 ปีปรับไม่เกิน 200,000 บาท
8. จำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อนำไปใช้กระทำความผิด
  -จำคุกไม่เกิน 2 ปีปรับไม่เกิน 40,000 บาท
9. นำข้อมูลที่ผิดพ.ร.บเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์
  -จำคุกไม่เกิน 5 ปีปรับไม่เกิน 100,000 บาท
10. ให้ความยินยอมร่วมมือรู้เห็นเป็นใจกับผู้ร่วมกระทำความผิด
   -จำคุกไม่เกิน 5 ปีปรับไม่เกิน 100,000 บาท
11. ตัดต่อเติมหรือดัดแปลงภาพ
   -จำคุกไม่เกิน 3 ปีปรับไม่เกิน 200,000 บาท

ความฉลาดทางดิจิทัลมีองค์ประกอบ 8 ด้าน
1) อัตลักษณ์เชิงดิจิทัล
2) การใช้งานทางเทคโนโลยีดิจิทัล
3)ความปลอดภัยในโลกดิจิทัล
4) การป้องกันภัยในโลกดิจิทัล
5) ความฉลาดทางอารมณ์ในดิจิทัล
6) การสื่อสารในโลกดิจิทัล
7) การรู้ดิจิทัล
8) การรู้สิทธิในโลกดิจิทัล

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

โปรเเกรมควบคุมเซนต์เซอร์วัดระยะ